วันพฤหัสบดีที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2555

สื่อปากีสถาน ร่วมแฉทุจริตจำนำข้าวไทย






นอกจากรอยเตอร์ที่วิจารณ์โครงการจำนำข้าวของรัฐบาลเพื่อไทยอย่างเสียๆ หายๆ แล้ว คลิกอ่านข่าวรอยเตอร์

ก็ยังมีสื่อนอก อย่าง Business Recorder ร่วมวิจารณ์ทุจริตโครงการจำนำข้าวของรัฐบเพื่อไทยอีกด้วย

แหม !! สื่อต่างชาติเขารู้ทันความชั่วของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ มีแต่พวกฟายแดงเท่านั้น ที่หลงใหลความงั่งของนายกฯ โง่แต่ชั่วนะ ^^

นั่นเพราะฟายแดง มันชอบเสพสื่อด้านเดียวสม่ำเสมอ แถมชอบคนโกงที่ให้ประโยชน์แก่ตัวเอง มากกว่าปกป้องประโยชน์ของชาติ



บิสเนส รีคอร์เดอร์ - สื่อต่างประเทศอ้างนักวิเคราะห์ชี้โครงการรับจำนำข้าวของไทยกำลังบิดเบือนตลาดทั่วภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดึงดูดให้มีการลักลอบนำข้าวประเทศเพื่อนบ้านเข้าสู่สต๊อกของรัฐบาลไทย ขณะที่การทำธุรกิจที่แท้จริงยังฝืดเคืองและราคาข้าวไทยในตลาดก็ลดลงฮวบฮาบในสัปดาห์นี้

เว็บไซต์ข่าว บิสเนส รีคอร์เดอร์ สื่อมวลชนของปากีสถานรายงานว่าข้าวราคาถูกจากกัมพูชาและพม่า กำลังหาหนทางลักลอบเข้าสู่โกดังข้าวของรัฐบาลไทย และนักวิเคราะห์ของเวียดนามบางส่วนก็คาดคะเนว่าบางทีข้าวเปลือกของเวียดนามเองกว่า 50,000 ตัน ก็อาจถูกลักลอบนำเข้าไทยผ่านทางกัมพูชา

นายฝั่งกวางเสี่ยว (Pham Quang Dieu) ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัยตลาดบริษัท บริษัท Agromonitor กล่าวว่า "ปกติแล้วเวียดนามจะนำเข้าข้าวเปลือกจากกัมพูชาไม่กี่ล้านตันในแต่ละปีเพื่อช่วยส่งเสริมการส่งออกของกัมพูชา แต่ในปีนี้ แม้แต่ข้าวเปลือกของเวียดนามก็ยังถูกลักลอบข้ามพรมแดนจากกัมพูชาเข้าไปยังฝั่งไทย"

เขาคำนวณด้วยว่ายอดการจัดหาข้าวเปลือกที่ลดลงในปีนี้ อาจทำให้ยอดการส่งออกของเวียดนามในปีนี้ไม่ตรงกับเป้าที่รัฐบาลวางไว้ที่ 7.2 ล้านตัน "ผมคิดว่า อย่างดีที่สุดเวียดนามก็คงส่งออกได้ราวๆ 7 ล้านตัน เพราะว่าผู้ส่งออกทั้งหลายมีข้าวเปลือกไม่เพียงพอ"

บิสเนส รีคอร์เดอร์ระบุว่าโครงการรับจำนำข้าวของรัฐบาลไทย กำหนดซื้อข้าวเปลือกในราคา 15,000 บาท(490 ดอลลาร์สหรัฐฯ) ต่อตัน ส่วนราคาข้าวเปลือกของเวียดนามที่นำเข้าไทยมีราคาราวๆ 440 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน ขณะที่ราคาข้าวเปลือกกัมพูชา มีราคา 330 ดอลลาร์สหรัฐฯต่อตัน ดังนั้นโครงการนี้จึงเป็นการเปิดทางให้พวกลักลอบนำเข้าข้าวมีกำไรอย่างงดงามหากพวกเขานำไปขายให้กับรัฐบาลไทย

ฤดูกาลเก็บเกี่ยวในปี 2011/12 ซึ่งสิ้นสุดเดือนกันยายน รัฐบาลไทยยืนยันรับจำนวนไม่อั้น ผลก็คือมีสต๊อกข้าวสะสมจำนวนมหาศาลที่เหล่าผู้ค้าและนักวิเคราะห์คาดหมายว่าน่าจะมีข้าวสารคงค้างอยู่ราวๆ 12 ล้านตัน ขณะที่ช่วงหลายปีที่ผ่านมา ไทย ส่งออกข้าวได้ประมาณ 8 ถึง 10 ล้านตันต่อปีเท่านั้น

เมื่อเร็วๆนี้ รัฐบาลไทยอ้างว่ามีสต๊อกข้าวเพียงแค่ราวๆ 4 หรือ 5 ล้านตัน แต่ทางบิสเนส รีคอร์เดอร์ ตั้งข้อสังเกตไม่ชัดเจนว่ารัฐบาลไทยได้ตัวเลขนี้มาได้อย่างไร เนื่องจากข้าวที่อ้างว่าขายให้แก่รัฐบาลชาติอื่นๆ บางทีอาจไม่มีการส่งมอบมานานหลายเดือนแล้วด้วยที่ไม่พบเห็นความเคลื่อนไหวตามท่าเรือหรือข้อพิสูจน์อื่นๆ ขณะที่เหล่าผู้ค้าต่างเคลือบแคลงและตั้งข้อสงสัยว่ามีการลงนามในข้อตกลงซื้อขายข้าวจริงหรือไม่

ด้วยสต๊อกยังคงค้างในตลาดมหาศาลและไทยกำลังเริ่มเก็บเกี่ยวข้าว จึงคาดหมายว่าราคาข้าวในสัปดาห์นี้จะดิ่งลงไปอีก เนื่องจากเมื่อมีข้าวเข้าสู่ตลาดมากขึ้น ผู้ส่งออกก็จะเสนอราคาที่ต่ำลง

"นี่บ่งชี้ว่าคงไม่เหลือพื้นที่ว่างในโกดังสำหรับเก็บข้าวอีกแล้ว และเวลานี้มันกำลังจะล้นตลาด" วิชัย ศรีประเสริฐ นายกสมาคมผู้ส่งออกข้าวไทยกล่าว

http://astv.mobi/AU9JJXW

-----------------------

ข่าวโพลมาเลย์ ไม่ยอมรับคนโกงเหมือนพวกฟายแดง

สุดท้ายฝากข่าว โพลมาเลเซีย เผย คนมาเลย์ไม่ยอมรับรัฐบาลโกง แม้ตนเองจะได้ประโยชน์ก็ตาม


คลิกที่รูปเพื่อไปอ่านข่าว !!



คลิกอ่าน ชาวนาชอบโครงการรับจำนำข้าวจริงหรือ?



-------------------------------

ต้นฉบับข่าวต่างประเทศ

BANGKOK: Thailand's rice intervention scheme is distorting trade around Southeast Asia, attracting rice smuggled from neighbouring countries into Thai government stockpiles, but genuine business remains slack and Thai prices have fallen this week.

Cheap rice from Cambodia and Myanmar is finding its way into Thai government warehouses and some analysts reckon as much as 500,000 tonnes of Vietnamese paddy may also have been smuggled in via Cambodia.

"Vietnam normally imports a few million tonnes of Cambodian paddy each year that boosts its exports. But this year, even Vietnamese paddy has been smuggled into Thailand across the Cambodian border," said Pham Quang Dieu, an analyst at Agro Monitor.

He calculated that the fall in available paddy this year could cause Vietnamese exports to fall short of the government's target of 7.2 million tonnes.

"I think Vietnam could sell 7 million tonnes at best because exporters aren't getting enough paddy," he said.

The Thai government is buying paddy at 15,000 baht ($490) per tonne. Vietnamese paddy would cost around $440 a tonne by the time it is transported into Thailand, while Cambodian rice costs $330 a tonne, giving smugglers a nice profit if they manage to sell it to the Thai government.

Stung by criticism of the intervention scheme, the Thai authorities are starting to crack down on such illicit trading.

The Department of Special Investigation (DSI), part of the Justice Ministry, seized 180 tonnes of smuggled paddy last week in Sa Kaeo province, around 240 km (150 miles) east of Bangkok on the border with Cambodia, DSI chief Tarit Pengdith said.

At the western border with Myanmar, police arrested local traders and confiscated 10 tonnes of paddy brought by truck into Mae Sod district in Tak province.

"It might just be a tiny amount of rice but this sort of smuggling is going on every day," a police officer in Tak province told Reuters, declining to be named.

In the 2011/12 crop year to the end of September, the Thai government stood ready to buy every single grain it was offered.

As a result, it has amassed stockpiles that traders and analysts put at around 12 million tonnes of milled rice. As a comparison, in recent years Thailand has exported around 8 to 10 million tonnes.

The government has recently given lower figures for the stockpiles of around 4 or 5 million tonnes but it is unclear how that figure is reached, especially as rice it may have sold to other governments may not be shipped for many months.

In the absence of port activity or other proof, traders remain sceptical that these deals have really been signed.

PRICES EASE

With the stockpiles hanging over the market and Thailand starting to harvest its main crop, prices have fallen this week. More rice may be reaching the market, allowing exporters to offer lower prices.

"This suggests there is no warehouse space left for holding rice and it is now spilling over into the market," said Vichai Sriprasert, a h o norary president of the Thai Rice Exporters Association.

The price of Thailand's benchmark 100 percent B grade white rice dropped to $565 per tonne from last week's $600. Demand remained thin.

The 5 percent broken grade fell to $555 a tonne from $585, way above the same grade in Vietnam of $445-$452 a tonne. That was up from $430-$435 early this week but still below the new floor price of $460 a tonne set by the Vietnam Food Association.

Vietnamese 25 percent broken rice was quoted at $410-$420 a tonne versus $420 last week, lower than the $435 a tonne set as the floor, which came into effect on Wednesday.

"Prices will only rise if the government secures a new contract," an exporter in Ho Chi Minh City said.

-----------------

ภาษีคนไทย ได้ช่วยให้ชาวนาเขมรรวย !!




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ถ้าแสดงความเห็นตรงช่องนี้ผมจะได้อ่านทุกความเห็นครับ แต่ถ้าความเห็นไม่ขึ้นอาจเพราะระบบรอตรวจสแปม ต้องรอ1-2วัน / ใหม่ เมืองเอก kaeake@ymail.com


ผู้ติดตาม